• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » ศาลทหาร

ศาลทหาร

5 อันดับการทำงานของศาลทหารที่ต้องจดจำ
  ในยุครัฐบาล คสช. มีประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557 กำหนดให้ประชาชนที่ถูกกล่าวหาในคดีความมั่นคงต้องถูกพิจารณาคดีที่ศาลทหาร ประกาศฉบับนี้ใช้มาเป็นเวลากว่าสองปี และถูกยกเลิกโดย คสช. เองเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2559 โดยคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 55/2559...
อ่านต่อ
5 อันดับ คดีประชาชนที่ไม่ต้องขึ้นศาลทหาร แต่ถูกยัดให้ขึ้นศาลทหาร
      ในยุครัฐบาลคสช. มีประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557 ที่กำหนดให้ประชาชนที่ถูกกล่าวหาในคดีความมั่นคงต้องถูกพิจารณาคดีที่ศาลทหาร ประกาศฉบับนี้ใช้มาเป็นเวลากว่าสองปี และถูกยกเลิกโดย คสช. เองเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2559 โดยคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 55/2559   ตลอดระยะเวลากว่าสองปี...
อ่านต่อ
รวมปรากฎการณ์'น่าเป็นห่วง' ในชั้นพิจารณาคดีการเมือง หลังรัฐประหาร
ศาลทหารทำโอที ฝากขัง 14 "ประชาธิปไตยใหม่" ตอนเที่ยงคืน    โดยปกติเมื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจจับตัวผู้ต้องหาได้จะมีอำนาจควบคุมตัวผู้ต้องหาเพื่อการสอบสวนไม่เกิน 48 ชั่วโมง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 87 วรรคสาม หากครบ 48...
อ่านต่อ
การต่อสู้ของพลเรือนที่ไม่ยอมขึ้นศาลทหาร ในคดีการเมืองยุคคสช.
  25 พฤษภาคม 2557 หลังยึดอำนาจได้ 3 วัน คณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ออกประกาศฉบับที่ 37/2557 กำหนดให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาคดีพลเรือนในความผิดบางประเภท ได้แก่ ความผิดต่อพระมหากษัตริย์ฯ ความผิดต่อความมั่นคงของชาติ และความผิดฐานฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่งของคสช. และประกาศฉบับที่ 38/2557...
อ่านต่อ
ข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับศาลทหารในยุค คสช.
ก่อนการรัฐประหารปี 2557 จำเลยที่เป็นทหารเท่านั้นต้องขึ้นศาลทหาร แต่ประกาศคสช.ฉบับที่ 37/2557, 38/2557 และ 50/2557 กำหนดให้พลเรือนต้องขึ้นศาลทหารในคดีความต่อไปนี้   >> คดีความผิดต่อพระมหากษัตริย์ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 107-112 >> คดีความผิดต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา 113-118...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed