- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 คณะผู้แทนไทยนำโดยธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ซึ่งเป็นกลไกลภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council) ที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติกว่า 193...
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” (lèse-majesté law) เป็นประเด็นหนึ่งที่ทำให้ประเทศไทยถูกวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งองค์กรระหว่างประเทศและประเทศอื่นอยู่บ่อยครั้ง นอกจากปัญหาในตัวเนื้อหาของกฎหมายเอง เช่น...
ปัญหาจากตัวบทกฎหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ที่ทำให้ขอบเขตการตีความเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกเป็นไปอย่างกว้างขวาง ทำให้กฎหมายที่ควรจะมีหน้าที่ในการผดุงความยุติธรรม กลับกลายเป็นเครื่องมือในการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง
ดังนั้น คำถามสำคัญแห่งยุคสมัย คือ...
หากย้อนไปสำรวจประวัติศาสตร์ชาติไทยก็จะพบว่า ความผิดฐานหมิ่นพระมหากษัตริย์ฯ นั้นมีมาตั้งแต่ยุคก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยพบเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรครั้งแรกใน 'กฎหมายตราสามดวง' สมัยรัชกาลที่ 1 ก่อนจะมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขตามบริบทและพลวัตรทางสังคมและการเมืองเรื่อยมา...
หลังกิจกรรมทางการเมืองหยุดไปชั่วขณะจากการระบาดระลอกสี่ของโควิด 19 ในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ที่พบผู้ติดเชื้อหลักหมื่นต่อวัน...