• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

เปรียบเทียบการพิจารณาคดี112 ในศาลทหารและศาลพลเรือน
เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557 กำหนดให้การพิจารณาคดีในหมวดความมั่นคง และคดีความผิดฐานฝ่าฝืนประกาศและคำสั่ง ของคสช. อยู่ในอำนาจการพิจารณาของศาลทหาร ซึ่งรวมทั้งคดีความผิดฐานหมิ่นประมาทกษัตริย์ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ด้วย นับถึงวันที่ 30...
อ่านต่อ
เปิดปูมประเด็นเด็ดในคำพิพากษาคดี 112
  คดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นคดีที่ได้รับความสนใจจากสาธารณชนมาก ทุกครั้งที่มีข่าวการพิพากษาคดีมาตรา 112 ก็มักจะมีการแสดงความคิดเห็นตอบรับกันอย่างเผ็ดร้อน และความคิดเห็นในสังคมต่อประเด็นนี้ก็มักแตกต่างกันสุดขั้วเสมอ   ความเห็นที่มีการถกเถียงกันบนโลกออนไลน์...
อ่านต่อ
รายงานการปรากฏตัวของคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ หลังรัฐประหาร 2557
  การหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์เป็นข้ออ้างที่นำมาสู่ความความขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมือง และยังเป็นเหตุผลหลักของการทำรัฐประหารเกือบทุกครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย หลังการรัฐประหารในปี 2549 และการปราบปรามการชุมนุมของเสื้อแดงในปี 2553 ตัวเลขคดีตามมาตรา 112 เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด...
อ่านต่อ
คดี 112 จากชั้นต้นถึงอุทธรณ์ กับการให้เหตุผลของศาลที่ต่างกัน
แน่นอนว่า การวินิจฉัยและพิพากษาคดีต้องมาจากพยานหลักฐานเป็นข้อมูลสำคัญ แต่ท้ายที่สุดแล้ว การตีความข้อเท็จจริงก็เป็นเรื่องอัตวิสัยที่ผู้พิพากษาอาจมีผิดถูกหรือคิดเห็นไม่ตรงกัน กระบวนการศาลยุติธรรมของไทยจึงออกแบบมาให้มี ศาลชั้นต้น – ศาลอุทธรณ์ - ศาลฎีกา...
อ่านต่อ
อัยการ-ศาล สร้างนิยามใหม่ ความผิดฐาน “พยายามหมิ่นกษัตริย์ฯ”
  วันที่ 12 ธันวาคม 2556 ศาลอาญาอ่านคำพิพากษาในคดีที่นายกิตติธนถูกฟ้องว่า เป็นผู้ใช้นามแฝงว่า “เคนจิ” โพสต์ข้อความดูหมิ่น หมิ่นประมาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระราชินีลงในเว็บไซต์ dangddดอทcom หรือเว็บไซต์ internetfreedom โดยศาลตัดสินว่า...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 18
  • 19
  • 20
  • 21
  • 22
  • 23
  • 24
  • 25
  • 26
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed