• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (ฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ

บทความ

ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.
  วิธีการ และวิธีคิดในการกำกับดูแลสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทยกำลังเปลี่ยนไปภายใต้ยุครัฐบาล คสช. เริ่มตั้งแต่การออกประกาศอย่างน้อย 10 ฉบับ การตั้งคณะกรรมการพิเศษติดตามตรวจสอบเนื้อหา และการส่งเรื่องผ่าน “กสทช.” ให้ “องค์กรอิสระ” แห่งนี้ใช้อำนาจแทน อย่างน้อย 18 กรณี จาก 12 สถานี...
อ่านต่อ
ซ้ำคดีที่สอง! ลุงเขียนหมิ่นฯ บนฝาห้องน้ำ จำคุกต่ออีกปีครึ่ง
16 ตุลาคม 2558 ศาลทหารกรุงเทพ พิพากษาจำคุก ‘โอภาส’ 3 ปี จากข้อกล่าวหาว่าเขียนฝาผนังห้องน้ำเป็นข้อความหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามมาตรา 112 หลังเคยถูกพิพากษาให้จำคุก 3 ปี จากการเขียนผนังห้องน้ำอีกห้องหนึ่งไปก่อนแล้ว    โอภาส อายุ 68 ปี อาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว...
อ่านต่อ
เจ้าหน้าที่ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ งานรำลึก "ลุงนวมทอง"
  เจ้าหน้าที่ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ งานรำลึก "ลุงนวมทอง" ท่าทีผ่อนคลาย ย้ำ ถ้าผิดเงื่อนไข เอาผิดหมด ไม่เว้นสื่อ   วันที่ 31 ตุลาคม 2558 เป็นวันครบรอบ 9 ปี การเสียชีวิตของ นวมทอง ไพรวัลย์ คนขับรถแท็กซี่ที่แขวนคอตัวเองเพื่อต่อต้านการรัฐประหารเมื่อปี 2549 ที่บริเวณสะพานลอยหน้าสำนักพิมพ์ไทยรัฐ...
อ่านต่อ
ข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับศาลทหารในยุค คสช.
ก่อนการรัฐประหารปี 2557 จำเลยที่เป็นทหารเท่านั้นต้องขึ้นศาลทหาร แต่ประกาศคสช.ฉบับที่ 37/2557, 38/2557 และ 50/2557 กำหนดให้พลเรือนต้องขึ้นศาลทหารในคดีความต่อไปนี้   >> คดีความผิดต่อพระมหากษัตริย์ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 107-112 >> คดีความผิดต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา 113-118...
อ่านต่อ
ย้อนรอยผลงานกวาดล้างคดีแอบอ้างสถาบันฯ: จาก ‘พงษ์พัฒน์’ ถึง ‘หมอหยอง’
ช่วงเดือนตุลาคม 2558 มีข่าวลือเรื่องการออกหมายจับผู้ต้องหารายใหม่ที่แอบอ้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสถาบันพระมหากษัตริย์เพื่อเรียกรับผลประโยชน์ตอบแทน ในความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา 112 หรือที่เรียกว่า คดีแอบอ้างฯ...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 67
  • 68
  • 69
  • 70
  • 71
  • 72
  • 73
  • 74
  • 75
  • …
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (ฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed