- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
28 มีนาคม 2564 เวลา 05.57 น. ตำรวจควบคุมฝูงชนนำกำลังเข้าสลายการชุมนุม #หมู่บ้านทะลุฟ้าV2 ที่ถนนพระราม 5 ข้างศาลกรมหลวงชุมพรฯ โดยอ้างว่า ผู้ชุมนุมกระทำความผิดฐานฝ่าฝืนพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) และก่อนการสลายการชุมนุม...
20 มีนาคม 2564 การชุมนุม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์ ของรีเด็มกลายเป็นการสลายการชุมนุมครั้งที่ 10 ของปี เฉลี่ยในทุกๆ 8 วันมีการสลายการชุมนุมเกิดขึ้น 1 ครั้ง โดยในระยะหลังการชุมนุมของรีเด็มกลายเป็นเป้าในการสลายการชุมนุม...
ในช่วงก่อนการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุมฯ) เคยถูกหยิบยกมาพูดถึงอยู่เป็นระยะโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช.ฉบับที่ 3/2558 ข้อ 12 ที่กำหนดห้ามการห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคน ซึ่งส่งผลให้พ.ร.บ....
เท่าที่สามารถเก็บข้อมูลได้ระหว่างวันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 15 มีนาคม 2564 มีการชุมนุมเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 160 ครั้ง แบ่งเป็นเดือนมกราคม 47 ครั้ง เดือนกุมภาพันธ์ 73 ครั้ง เดือนมีนาคม 40 ครั้ง อันดับหนึ่งคือ กรุงเทพมหานคร 111 ครั้ง รองลงมาคือ เชียงใหม่ 9 ครั้ง, ขอนแก่นและร้อยเอ็ด 6 ครั้ง...
การชุมนุมปี 2564 เกิดขึ้นอย่างเต็มรูปแบบหลังจากวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 เมื่อแกนนำราษฎร 4 คน ประกอบด้วยอานนท์ นำภา, พริษฐ์ ชิวารักษ์, สมยศ พฤกษาเกษมสุข และปติวัฒน์ สาหร่ายแย้ม ถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดีมาตรา 112 จากการชุมนุม #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร แม้ในช่วงตั้งแต่ปลายปี 2563 ถึงต้นปี...