• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » กฏหมายชุมนุมสาธารณะ

กฏหมายชุมนุมสาธารณะ

วิเคราะห์คำประกาศตำรวจ อ้างพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อคุมโรค แต่สั่งห้ามชุมนุมเพื่อ "คุมม็อบ"
    ตั้งแต่ปี 2563-2564 เกิดการชุมนุมทางการเมืองขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วประเทศ รวมแล้วกว่า 1,500 ครั้งทั่วประเทศ การชุมนุมในพื้นที่สาธารณะ นอกรั้วสถานศึกษาจะอยู่ภายใต้กติกาของพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 แต่เมื่อมีการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563...
อ่านต่อ
'ได้หมาย YOUNG' EP.2 คุยกับสี่นักกิจกรรม กลุ่ม ‘Free People 101 – สหภาพร้อยเอ็ดปลดแอก’ และ ‘เฟมินิสต์ปลดแอกภาคอีสาน’
การลุกฮือของภาคประชาชนในปี 2563 ส่งผลให้มีกลุ่มเครือข่ายเยาวชนที่สนใจทำกิจกรรมทางการเมืองตามแต่ละภูมิภาคในไทยเกิดขึ้นมากมาย อย่างไรก็ตาม เยาวชนเหล่านี้กลับต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงในการถูกดำเนินคดี รวมทั้งถูกคุกคามจากเจ้าหน้าที่รัฐในหลากหลายรูปแบบ   20 กันยายน 2564 รายการ ‘ได้หมาย Young EP.2...
อ่านต่อ
"เขาจับแบบไม่เลือกเลย" เสียงจากเยาวชนที่ถูกจับที่ดินแดง
เสียงประทัด พลุ และควันแก๊สน้ำตาสีขาวที่ลอยโขมงหน้าตู้คอนเทนเนอร์บริเวณแยกดินแดงติดต่อกันนานกว่าหนึ่งเดือน ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการขับไล่รัฐบาลในรูปแบบที่ต่างออกไปจากภาพจำของการชุมนุมในปี 2563 อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางการเติบโตของมวลชนที่แยกดินแดง...
อ่านต่อ
‘ได้หมาย Young’ EP.1 คุยกับสามนักกิจกรรมกลุ่ม ‘โคราชมูฟเมนต์’
  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือ ‘อีสาน’ เป็นภูมิภาคหนึ่งที่มีการชุมนุมทางการเมืองอย่างคับคั่งไม่น้อยไปกว่ากรุงเทพมหานคร รายการ ‘ได้หมาย Young’ โดย iLaw พาไปรู้จักกับเยาวชนในภาคอีสานที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและถูกเจ้าหน้าที่รัฐคุกคามหรือดำเนินคดีในช่วงที่ผ่านมา    สำหรับในตอนแรก...
อ่านต่อ
ถอดประสบการณ์ผู้สังเกตการณ์ชุมนุม #ม็อบ7สิงหา
วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 14.00 น. เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อนเวลานัดหมายในเวลา 12.20 น. ตำรวจเริ่มตั้งแถวสลายการชุมนุมตั้งแต่ยังไม่เริ่มชุมนุมและมีผู้ชุมนุมอยู่ไม่มากนัก  เมื่อผู้ชุมนุมย้ายไปชุมนุมที่ทำเนียบรัฐบาลก็ถูกขวางด้วยแนวตู้คอนเทนเนอร์...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • …
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed