• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

ปรากฎการณ์การใช้มาตรา 112 ต่อการเผา - ทำลาย ซุ้มเฉลิมพระเกียรติ
    พระบรมฉายาลักษณ์และซุ้มเฉลิมพระเกียรติ ถูกประดับประดาให้พบเห็นได้ตามถนนเส้นสำคัญ สถานที่สาธารณะ อาคารหน่วยงานราชการ รวมถึงพื้นที่ของเอกชนที่เปิดให้สาธารณะเข้าใช้บริการอีกหลายๆ แห่ง การเผาหรือทำลายซุ้มเฉลิมพระเกียรติโดยตัวเองเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาอยู่แล้ว หากเป็นการ "...
อ่านต่อ
ครบรอบหนึ่งปี 112 return
  19 พฤศจิกายน 2564 เป็นวันครบรอบหนึ่งปีพอดี ของการนำมาตรา 112 กลับมาใช้อีกระลอกหนึ่ง นับตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ออกแถลงการณ์นายกรัฐมนตรีว่าจะบังคับใช้กฎหมาย “ทุกฉบับ ทุกมาตราที่มีอยู่” ต่อผู้ชุมนุม จากนั้นมาจำนวนคดี #ม112 ฐานหมิ่นกษัตริย์ฯ ที่เคยหายเงียบไปสองปีกว่า...
อ่านต่อ
ประวัติศาสตร์-ความมั่นคง ข้อแก้ตัวประจำของไทยในเวทีโลกเรื่องมาตรา 112
  เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือกฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์ (lèse-majesté law) กลายเป็นที่จับตาในเวทีนานาชาติ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 ไทยเข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ...
อ่านต่อ
ผู้แทนไทยแจงกลางวง UPR แก้ 112 เป็นเรื่องของสภา นานาชาติห่วงใช้กฎหมายขวางการแสดงออก
  วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 คณะผู้แทนไทยนำโดยธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ซึ่งเป็นกลไกลภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council) ที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติกว่า 193...
อ่านต่อ
รวมข้อวิพากษ์วิจารณ์ที่ต่างชาติมีต่อมาตรา 112
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” (lèse-majesté law) เป็นประเด็นหนึ่งที่ทำให้ประเทศไทยถูกวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งองค์กรระหว่างประเทศและประเทศอื่นอยู่บ่อยครั้ง นอกจากปัญหาในตัวเนื้อหาของกฎหมายเอง เช่น...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • 16
  • …
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed