• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

มาตรา 112 ใช้แตกต่างกันไปตามสถานการณ์การเมือง
แม้ในทางกฎหมาย องค์พระมหากษัตริย์ของไทยอยู่ในฐานะประมุขแห่งรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะสัญลักษณ์แห่งรัฐและอยู่พ้นไปจากความขัดแย้งทางการเมือง แต่การเกิดขึ้นของคดีมาตรา 112 กลับดูจะมีความสัมพันธ์อยู่ไม่น้อยกับสถานการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ช่วงการรัฐประหาร 2549 เป็นต้นมา...
อ่านต่อ
รายงานการตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ก่อนรัฐประหาร 2557
  รายชื่อผู้ถูกตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ก่อนรัฐประหาร 2557   หมายเหตุ: สามารถคลิกที่ชื่อ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ (/) ไม่มีบันทึกของข้อมูล    ลำดับ ชื่อ พฤติการณ์ที่ถูกกล่าวหา วันเริ่มต้นคดี ผล 1. โอลิเวอร์ พ่นสีสเปรย์ลงบนโปสเตอร์ซึ่งมีพระบรมฉายาลักษณ์ ร.9...
อ่านต่อ
ผู้ต้องหามาตรา 112 มีสิทธิต่อสู้คดีเต็มที่หรือไม่?
  ผู้ต้องหาหรือจำเลยที่ถูกดำเนินคดี ไม่ว่าด้วยข้อหาอะไรก็ตาม เมื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมต้องมี ‘สิทธิ’ ขั้นพื้นฐานตลอดกระบวนการเพื่อรับประกันว่า คนที่ถูกดำเนินคดีจะไม่ถูกฝ่ายรัฐกลั่นแกล้ง หรือถูกกระบวนการยุติธรรมทำให้เดือดร้อน   แต่สำหรับการต่อสู้คดีมาตรา 112 นั้นต่างออกไป...
อ่านต่อ
ม.112 "ใครฟ้องก็ได้" หมายความว่าอะไร??
      ข้อหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นข้อหาที่อยู่ในหมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์ฯ ซึ่งเป็น "ความผิดต่อแผ่นดิน" ความผิดในประเภทนี้คดีอาจริเริ่มขึ้นโดยใครก็ได้ที่พบเห็นการกระทำและนำเรื่องไปบอกกับตำรวจที่มีอำนาจหน้าที่ หรืออาจเรียกว่า "ใครฟ้องก็ได้" อย่างไรก็ดี ไม่ได้หมายความว่า...
อ่านต่อ
คดีมาตรา 112 ลงโทษหนักแค่ไหน?
      มาตรา 112 มีอัตราโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี ไม่มีโทษปรับและโทษอื่นๆ หมายความว่า สำหรับการกระทำ 1 ครั้ง หรือในทางกฎหมายเรียกว่า 1 กรรม เมื่อศาลพิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นความผิด ศาลก็มีดุลพินิจที่จะกำหนดโทษจำคุกเท่าไรก็ได้ระหว่าง 3-15 ปี   การวางอัตราโทษเอาไว้กว้างๆ...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed