• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)

'ยก 2 ลง 2' เปิดคำพิพากษาคดี 112 นับถึงพฤษภาคม 2565
ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้ดำเนินคดีผู้ที่แสดงออกทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง คดีของอำพลหรือ 'อากง SMS' ดารณีหรือ 'ดา ตอร์ปิโด' และสมยศ พฤกษาเกษมสุข คือตัวอย่างของคดีมาตรา 112 ที่เกิดขึ้นเป็นคดีแรกๆในช่วงปี 2551-2554  ...
อ่านต่อ
RECAP: ไล่เรียงสถานการณ์ไต่สวนประกันคดีม.112 สะท้อนแนวโน้มส่งผู้ต้องหาเข้าเรือนจำระหว่างพิจารณาคดี
การยื่นเรื่องขอประกันตัวผู้ต้องหาในบางกรณีนอกจากจะต้องวางหลักทรัพย์เป็นจำนวนเงินแล้ว คำสั่งอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวอาจพ่วงมาด้วย “เงื่อนไข” ภายใต้สัญญาประกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ต้องหาหลบหนี เช่น เงื่อนไขห้ามเดินทางออกนอกราชอาณาจักร, ห้ามออกนอกเคหสถานภายในเวลาที่กำหนด, การติดอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์...
อ่านต่อ
เปิดจักรวาลทะลุวังและผองเพื่อน
    หากกล่าวถึงการเคลื่อนไหวเรื่องการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ในเวลานี้ ทะลุวังและเครือข่ายที่แยกออกมาจากทะลุวังถือเป็นกลุ่มนักกิจกรรมที่กำลังมีบทบาทสำคัญ ในสถานการณ์ที่การชุมนุมไม่ได้อยู่ในช่วงขาขึ้นและไม่มีการชุมนุมบนท้องถนนขนาดใหญ่...
อ่านต่อ
“กล่าวโทษ ม.112 ข้ามจังหวัด” ภาพสะท้อนปัญหาความผิดอาญาแผ่นดิน
  ในช่วงปี 2563-2565 เกิดปรากฏการณ์การดำเนินคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 (Lèse-majesté) เป็นจำนวนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยคดีส่วนใหญ่มาจากการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์ ทั้งโดยบุคคลที่มีชื่อเสียงทางการเมืองและคนที่ไม่ได้เป็นที่รู้จัก เพียงแค่ระบายความรู้สึกในพื้นที่การแสดงออกของตัวเอง...
อ่านต่อ
คุยกับนรินทร์ จำเลยคดีสติกเกอร์ กูKult: ความหวังที่มีก่อนมาศาล สูญสิ้นไปหลังการสืบพยาน
หลังการสืบพยานคดีประมวลกฎหมายอาญามาตรามาตรา 112 ของนรินทร์ ผู้ถูกกล่าวหาว่า ติดสติกเกอร์ กูkult ที่ศาลอาญาระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ และวันที่ 1 มีนาคม 2565 เสร็จสิ้นลง นรินทร์ได้เล่าให้ไอลอว์ฟังถึงความคิด ความเชื่อของเขาต่อกระบวนการยุติธรรมไทย ตั้งแต่ก่อนจะเริ่มเข้ากระบวนการสืบพยาน...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • …
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed