- เว็บไซต์ไอลอว์
- ศูนย์ข้อมูลฯ
อื่นๆ
ในยุค คสช. การปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนถูกอ้างอิงและใช้อำนาจผ่าน "กฎหมาย" เพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐบาลทหาร ทั้งกฎหมายที่ออกใหม่ภายใต้รัฐบาล คสช. ทั้ง ประกาศและคำสั่งของ คสช. ก็ถูกหยิบมาใช้ แต่ไม่เพียงเท่านั้น การกระทำเล็กน้อยที่ไม่ได้มุ่งหวังลงโทษให้สาสม...
ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 จนถึง 22 พฤษภาคม 2561 เป็นเวลาสี่ปีพอดีที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของ คสช. ซึ่งเป็นยุคสมัยที่มีการจับกุมและดำเนินคดีประชาชนจากการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองจำนวนมาก ผู้ใช้อำนาจรัฐยุคนี้ก็มีเครื่องมือทาง "กฎหมาย"...
อัพเดทข้อมูลล่าสุดวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562
จากรายงานการประชุมของ กสทช. เท่าที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ ตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 – 22 กุมภาพันธ์ 2562 พบว่า มีการออกมติให้ลงโทษสื่อมวลชนจากการนำเสนอเนื้อหาในประเด็นทางการเมือง โดยอาศัยหลักเกณฑ์ตามประกาศและคำสั่ง คสช. ที่เกี่ยวข้อง,...
“ให้สำนักงาน กสทช. พิจารณาดำเนินการตามประกาศคำสั่งของ คสช. โดยเคร่งครัด เนื่องจากประกาศคำสั่งเหล่านี้ถือเป็นกฎหมายที่ทุกองค์กรต้องปฏิบัติตามในส่วนที่เกี่ยวข้อง” เป็นคำกล่าวของพันเอก ดร.นที ศุกลรัตน์ ประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์(กสท.) แจ้งให้ที่ประชุม กสท....
การตั้งข้อกล่าวหาเป็นคดีอาญาต่อผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมืองเป็นหนึ่งในผลงานที่โดดเด่นของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ส่งผลให้เกิดบรรยากาศแห่งความกลัวในสังคมไทย ตลอดระยะเวลาเกือบ 4 ปี มีผู้ถูกตั้งข้อหาในความผิดฐานต่างๆ จากการแสดงออกทางการเมือง เช่น คดีมาตรา 112 อย่างน้อย 94 คน...