• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ » อื่นๆ

อื่นๆ

สถานการณ์การปิดกั้นเสรีภาพการแสดงออก จากการประกาศกฎอัยการศึก 20 พฤษภาคม 2557
สถานการณ์การละเมิดเสรีภาพการแสดงออก จากการประกาศกฎอัยการศึก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2557 หลังจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก ประกาศกฏอัยการศึกไปเมื่อเวลา 03.00 น. ของวันที่ 20 พฤษภาคม 2557 ซึ่งมีผลทั่วราชอาณาจักร ต่อมากองทัพบกยังออกประกาศจัดตั้ง กองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (กอ.รส...
อ่านต่อ
สถิติการปิดกั้นเว็บไซต์ในประเทศไทย นับตั้งแต่ปี 2550-2556
นับแต่ปี 2550-2556 สถิติการระงับการเผยแพร่เนื้อหา หรือการปิดเว็บไซต์โดยอาศัยมาตรา 20 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ 2550 ผ่านคำสั่งศาลจำนวน 380 ฉบับ จำนวนทั้งสิ้น 107,830 ยูอาร์แอล ทั้งนี้ เนื้อหาที่ถูกปิดกั้นเป็นอันดับหนึ่ง คือ เนื้อหาและภาพดูหมิ่น หมิ่นประมาท พระมหากษัตริย์ พระราชินี และรัชทายาท...
อ่านต่อ
โทษของผู้ฝ่าฝืนการเซ็นเซอร์สื่อ
เมื่อมีกฎหมายให้อำนาจเซ็นเซอร์สื่อแล้ว กฎหมายจะมีสภาพบังคับได้ก็ต่อเมื่อมีบทกำหนดโทษของผู้ฝ่าฝืนเอาไว้ด้วย ดังนั้น หากมีคำสั่งจากผู้มีอำนาจ ด้วยเงื่อนไขตามกฎหมายเพื่อปิดกั้นสื่อแล้ว และมีผู้ฝ่าฝืนไม่เชื่อฟัง ยังคงเผยแพร่สื่อนั้นสู่สาธารณะต่อไป ก็ย่อมมีความผิดและมีโทษตามกฎหมาย...
อ่านต่อ
เงื่อนไขการสั่งเซ็นเซอร์สื่อ
กฎหมายกำหนดเงื่อนไขการปิดกั้นสื่อแต่ละประเภทไว้ไม่เหมือนกัน โดยรวมอาจมีหลักการหลายอย่างที่สอดคล้องกันแต่หากเปรียบเทียบกฎหมายหลายฉบับจะพบว่า มีเนื้อหาบางประเภทที่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ แต่ไม่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ ขณะที่เนื้อหาบางประเภท เช่น เนื้อหาที่ “ขัดต่อความสงบเรียบร้อย” หรือ...
อ่านต่อ
ผู้มีอำนาจออกคำสั่งเซ็นเซอร์เนื้อหาในสื่อ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมสื่อ ให้อำนาจแก่องค์กรหลายรูปแบบเป็นผู้พิจารณาและออกคำสั่งเพื่อปิดกั้นหรือ เซ็นเซอร์สื่อ กฎหมายแต่ละฉบับต่างให้อำนาจในการใช้วิจารณญาณแก่องค์กรที่แตกต่างกัน แสดงถึงความหลากหลายของลักษณะของผู้ถืออำนาจและความอ่อนไหวในการปิดกั้นสื่อ Media Censorship Authorities  ...
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 38
  • 39
  • 40
  • 41
  • 42
  • 43
  • 44
  • 45
  • 46
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed