• เว็บไซต์ไอลอว์
  • ศูนย์ข้อมูลฯ
  • ENG
  • ไทย
Skip to main content
Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ
  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
    • เสรีภาพการแสดงออก เสรีภาพของทุกคน
    • กฏหมายไทยที่ใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงออก
    • สถานการณ์ปัจจุบัน
    • 10 คำถาม-คำตอบน่ารู้เกี่ยวกับมาตรา 112
    • การเก็บข้อมูลเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
    • นิยามศัพท์
  • ฐานข้อมูลคดี
    • เรียงตามคดีที่เกิดขึ้นใหม่
    • เรียงตามคดีที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
    • ปฏิทินคดี
  • บทความ
    • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
    • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
    • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
    • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
    • พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
    • ศาลทหาร
    • 112 the series
    • #Attitude adjusted?
    • อื่นๆ
  • รายงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานประจำเดือน
    • รายงานพิเศษ
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • ติดตามข่าวสารของเรา
    • อาสาสมัคร
    • ฝึกงาน
หน้าแรก » บทความ

บทความ

ไม่มี “วิญญูชน” ในกฎหมายอาญา : วิเคราะห์คำพิพากษาคดีเอกชัย คนขายซีดี
  28 มีนาคม 2556 ศาลอาญา อ่านคำพิพากษาตัดสินจำคุกนายเอกชัย 5 ปี ปรับ 100,000 บาท เนื่องจากทางนำสืบของจำเลยเป็นประโยชน์ ลดโทษให้หนึ่งในสาม เหลือ จำคุก 3 ปี 4 เดือน ปรับ 66,666 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายรัชทายาท...
อ่านต่อ
โทษของผู้ฝ่าฝืนการเซ็นเซอร์สื่อ
เมื่อมีกฎหมายให้อำนาจเซ็นเซอร์สื่อแล้ว กฎหมายจะมีสภาพบังคับได้ก็ต่อเมื่อมีบทกำหนดโทษของผู้ฝ่าฝืนเอาไว้ด้วย ดังนั้น หากมีคำสั่งจากผู้มีอำนาจ ด้วยเงื่อนไขตามกฎหมายเพื่อปิดกั้นสื่อแล้ว และมีผู้ฝ่าฝืนไม่เชื่อฟัง ยังคงเผยแพร่สื่อนั้นสู่สาธารณะต่อไป ก็ย่อมมีความผิดและมีโทษตามกฎหมาย...
อ่านต่อ
เงื่อนไขการสั่งเซ็นเซอร์สื่อ
กฎหมายกำหนดเงื่อนไขการปิดกั้นสื่อแต่ละประเภทไว้ไม่เหมือนกัน โดยรวมอาจมีหลักการหลายอย่างที่สอดคล้องกันแต่หากเปรียบเทียบกฎหมายหลายฉบับจะพบว่า มีเนื้อหาบางประเภทที่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ แต่ไม่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ ขณะที่เนื้อหาบางประเภท เช่น เนื้อหาที่ “ขัดต่อความสงบเรียบร้อย” หรือ...
อ่านต่อ
ผู้มีอำนาจออกคำสั่งเซ็นเซอร์เนื้อหาในสื่อ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมสื่อ ให้อำนาจแก่องค์กรหลายรูปแบบเป็นผู้พิจารณาและออกคำสั่งเพื่อปิดกั้นหรือ เซ็นเซอร์สื่อ กฎหมายแต่ละฉบับต่างให้อำนาจในการใช้วิจารณญาณแก่องค์กรที่แตกต่างกัน แสดงถึงความหลากหลายของลักษณะของผู้ถืออำนาจและความอ่อนไหวในการปิดกั้นสื่อ Media Censorship Authorities  ...
อ่านต่อ
กฎหมายสื่อและการควบคุมสื่อ
ในประเทศไทยมีพระราชบัญญัติที่ออกมาเป็นการเฉพาะเพื่อควบคุมสื่อแต่ละประเภท ดังนี้ กฎหมายไทยที่ใช้ควบคุมสื่อและการแสดงความคิดเห็น ประเภทสื่อ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง วิทยุและโทรทัศน์ พ.ร.บ. การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551พ.ร.บ....
อ่านต่อ
  • « แรก
  • ‹ หน้าก่อน
  • …
  • 129
  • 130
  • 131
  • 132
  • 133
  • 134
  • 135
  • 136
  • 137
Skip to Top
  • มาตรา 112 (หมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์และราชวงศ์)
  • มาตรา 116 (ฐานยุยงปลุกปั่น)
  • กฏหมายชุมนุมสาธารณะ
  • กฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา
  • พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ
  • ศาลทหาร
  • 112 the series
  • #Attitude adjusted?
  • อื่นๆ

Primary links

  • หน้าแรก
  • เสรีภาพการแสดงออก 101
  • ฐานข้อมูลคดี
  • บทความ
  • รายงาน
  • ปฏิทินคดี
  • เกี่ยวกับเรา
  • นโยบายเกี่ยวกับคุกกี้
  • มีส่วนร่วมกับเรา
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดย ไอลอว์
ผลงานนี้ ใช้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า 3.0 ต้นฉบับ.

create common  

 

  • facebook
  • twitter
  • Instagram iLawClub
  • @iLawClub
  • Flickr iLawClub
  • rss feed